3 สายพันธุ์สัตว์เลี้ยง ที่ใครๆก็อยากเลี้ยง

Share it:
3 สายพันธุ์สัตว์เลี้ยง ที่ใครๆก็อยากเลี้ยง

( ชูการ์ไกลเดอร์ ) 


ชูการ์ไกลเดอร์  ก็เป็นสัตว์ชนิดหนึ่งที่อยู่ในวงส์  Petauridae  ชื่อวิทยาศาสตร์ Petaurus breviceps เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็ก  และมีเชื้อสายใกล้ชิดกับจิงโจ้มาก  เพราะว่ามีกระเป๋าหน้าท้องเหมือนกันจิงโจ้  ไว้ให้ลูกอยู่อาศัย  อยู่ในประเภทสัตว์พันธุ์แทะ  เช่นเดียวกับหนู ชูการ์ไกลเดอร์นั้นมีที่มาจากคำว่า  Sugar + Glider  หมายถึงสัตว์ที่ชอบอาหารที่มันหวานๆ  ผลไม้หวาน  และสามารถที่จะร่อนบินไปไหนมาไหนได้ ที่เมืองไทยบางครั้งเรียก  จิงโจ้บิน  เพราะว่ามีกระเป๋าเหมือนจิงโจ้  สามารถที่จะร่อนได้นั้นเอง
 มีถิ่นกำเนิดอยู่ทีทางทิศตะวันออกและภาคเหนือของประเทศออสเตเลีย  และยังพบใน  นิวซีแลนด์  ปาปัวกีนี  ที่เมืองไทยบางครั้งเรียก  จิงโจ้บิน  เพราะว่ามีกระเป๋าเหมือนจิงโจ้  สามารถที่จะร่อนได้นั้นเอง
 ชูการ์ไกลเดอร์นั้น  เป็นสัตว์ที่ชอบอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม  มีการปล่อยกลิ่นเพื่อแสดงอาณาเขต จะนอนพักผ่อนเวลากลางวันและหากินตอนกลางคืนและจะชอบกินพวกแมลงที่มีขนาดเล็ก หรือจะพวกเยื่อไม้ของต้นยูคา ต้นอาราเซีย

( เม่นแคระ )


เม่นแคระ หรือ เฮดจ์ฮอก เป็นเม่นที่มีขนาดเล้กว่าพันธุ์อื่น ๆ  หรือว่าบางคนเรียก เม่นแคระ แอฟริกัน  เพราะว่าเป็นเม่นที่มีต้นกำเนิดจากแอฟริกาเป็นตัวขนาดเล็กกระทัดรัดและสามารถเลี้ยงได้เพราะขนที่แหลมมีขนาดเล็กไม่เป็นอันตรายต่อผู้เลี้ยงมาก  การเป็นที่นินมากในปี 1980 เป็นต้นมาและมีการจำนวนและเลี้ยงไปทั่วโลก  ในหลายประเทศยังเลี้ยงต้องมีการอนุญาตเนื่องจากมีกฏหมายคุ้มครองจำนวนเม่นอยู่  เป็นเม่นที่อยู่ในธรรมชาติจำศีลในฤดูหนาวแต่ว่าใช้เวลาไม่นานมาก  เม่นแคระ มีความรักที่หลายคนชื่นชอบและมีการเลี้ยงเพิ่มขึ้น เม่นแคระ เป็นสัตว์ที่หากินตอนกลางคืนและกินจำพวกแมลง  เลี้ยงลูกด้วยนม  สามารถที่จะเดินทางตอนกลางคืนได้หลายไมล์ในคืนเดียวเท่านั้น  เม่นเคระเป็นสัตว์ที่อาจจะตกใจง่ายและการกินที่ต้องเอาใจใส่ดูแลจึงต้องมีความรู้บ้างในการเลี้ยงที่เหมาะสม  เพื่อจะให้เขาดูน่ารัก เม่แคระมีหลายสายพันธุ์  แต่ลักษณะใกล้เครียกันมาก  แต่เม่นแคระแอฟริกัน  เป็นเม่นที่ตัวเล้กไม่มีหนามที่แหลมคมคนจึงนิยมเลี้ยงได้  ซึ่งมีหลายคนเข้าใจผิดว่าเป็นเม่นจากประเทศอเมริกา  การศึกษาเม่นแคระ  เราได้นำบทความต่างๆมาให้ศึกษาพื้นฐานไปจนถึงการเลี้ยงขั้นกลาง  หวังว่าคงเหมาะสำหรับผู้ที่เลี้ยง  และกำลังจะเลี้ยงเม่นแคระ  ชนิดนี้สามารถที่จะซื้อมาเลี้ยงตามร้านขายวัตว์เลี้ยงตัว  ในจตุจักรเห็นหลายร้านพอสมควร  ควรเลือกที่มีความสะอาดและสุขภาพที่ดี


( นกกรงหัวจุด )


หากจะนึกถึงนกที่ทำให้คนเราได้ได้ยินเสียงแล้วเพลิดเพลินไปกับเสียงนอกที่ร้องแล้วล่ะนกกรงหัวจุด หรือว่าเรียกอีกอย่างว่านกปรอดหัวโขน ก็เป็นนกอีกชนิดหนึ่งที่มีเสียงร้องที่ไพเราะ ซึ่งจะมีความแตกต่างกันในแต่ละตัว  นอกจากมีเสียงที่ดีแล้วยังเป็นนกที่มีสีสันสวยงามด้วยเช่นกัน และได้นิยมเลี้ยงไว้ประกวดในการแข่งขันเสียงโดยเฉพาะทางภาคใต้ของเรานั้นได้มีการจัดประกวดและชมรมต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย และมีการขยายการเลี้ยงไปทั่วประเทศ  หากไม่ได้เลี้ยงจะเข้าประกวดก็เลี้ยงเอาไว้ดูเล่นและฟังเสียงของมัน บางตัวนั้นมีราคาที่สูงเพราะว่าเสียงของมันไพเราะและร้องดีนั้นเอง ในสมัยก่อนนั้นจะมีการเลี้ยงไว้ตามบ้านเพื่อฟังเสียงคล้ายเครียด  คล้ายความเหมื่อยได้
  สำหรับนกกรงหัวจุก อังกฤษ: Red-whiskered bulbul มีชื่อเรียกทางวิทยาศาสตร์ว่า Pycnonotus jocosus  และอยู่ในวงส์ Pycnonotidae เดียวกันนกปรอด ซึ่งมีทั้งหมด 109 ชนิดด้วยกัน และในประเทศไทยจะมีการเรียกชื่อไปแตกต่างกันในแต่ละภาคคือ
ภาคเหนือ : นกปรื๊ดจะหลิว นกพิชหลิว
                ภาคอีสาน  : นกหัวขวาน
                ภาคกลาง  :  นกปรอดหัวโขน นกปรอดหัวจุก
                ภาคใต้  :  นกกรงหัวจุก
                โดยทั่วไปนั้นนกกรงหัวจุก มีนิสัยที่ก้าวร้าว ดุ แต่แรกเริ่มนั้นได้นำมาเลี้ยงไว้เพื่อจิกตีกัน ไม่สามารถที่จะขังรวมกันได้เลย  จึงต้องนิยมเลี้ยงแล้วขังเดี่ยว  ในเมื่อก่อนนั้นประเทศไทยเองเลี้ยงเพื่อจิกตีและใช้ในการแข่งกันของเสียงร้องต่อมาตอนที่ทางภาคใต้ในจังหวัดสงขลาได้เห็นว่าเจ้านกกรงหัวจุกมีเสียงที่พิเศษไพเราะ จึงน่าจะทำการแข่งขันเสียงร้องของมันดีกว่า และได้มีกาจัดประกวดและช่วงหลังไม่มีแข่งขันการจิกตีกันเลยต่อมา และได้ขยายกันไปตามภาคต่างๆ

                นกชนิดมีถิ่นมาตั้งแต่ประเทศจีน  มีขนาดอยู่ที่ 20 เชนติเมตร มีสีสันต่างๆ  ตามแต่สายพันธุ์ในแต่ละสายพันธุ์ที่แก้มอาจจะมีสีขาวและสีแดงลำตัว จะมีสีดำ  สีน้ำตาล และสีขาว หรือว่าจะมีสีเขียวเหลือง หัวจะมีหน่อตั้งขึ้นไปสูง บริเวณหน้าอกเป็นขนสีขาว แต่ละสายพันธุ์มีความสวยงามแตกต่างกัน และเป็นสัตว์ที่อยู่ในคุ้มคลองดูแล
Share it:

เกษตรสัตว์

สัตว์เลี้ยง

Post A Comment:

0 comments: